วันจันทร์ที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 14

                          วิชา  การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ

วันที่ 18 พฤศจิกายน  2557


นำเสนอแผนต่อจากอาทิตย์ที่แล้ว

กลุ่มที่ 7 หน่วยนกหงษ์หยก



กลุ่มที่ 8 หน่วย สับปะรด



กลุ่มที่ 9 หน่วย ส้ม 




หลังจากที่นำเสนอครบทุกกลุ่มเเล้ว อาจารย์ให้นักศึกษาออกมาถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับวิจัยและการสอนตามแนวโทรทัศน์ครูดังนี้

           นางสาวกมลชนก หยงสตาร์  นมสีกับน้ำยาล้างจาน ที่มาจากYouTube 
 ขั้นตอนการทดลอง ใส่นม-ใส่สีผสมอาหาร-ใส่น้ำยาล้างจาน  หลังจากนั้นสังเกตุปฏิกิริยาในการทดลอง
  ในเรื่องนี้เด็กๆได้เรียนรู้ในการสังเกต การทดลอง
           นางสาวจุฑาทิพย์ แก่นแก้ว นำเสนอวิจัย สร้างพื้นฐานการเรียนรู้กับประสาทสัมผัสทั้ง5
วิจัยนี้เด็กๆได้เรียนรู้- การสังเกต   - การใช้ประสัมผัสทั้ง5  
           นางสาวรัตติพร ชัยยัง นำเสนองานวิจัย กระบวนการพัฒนาวิทยาศาสตร์พื้นฐานส่งเสริมศิลปะสร้างสรรค์
            นางสาวอนุสรา  แก้วชู นำเสนองานวิจัย ผลการเรียนรู้ทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาตร์เด็กปฐมวัย
วิจัยนี้เด็กได้เรียนรู้ทักษะ - การจำแนก  - ทักษะการสื่อความหมาย 
            นางสาวรัชดาภรณ์  มณีศรี นำเสนอโทรทัศน์ครูกิจกรรมวิทยาศาสตณของเด็กปฐมวัยเรื่องหนังสือลอย
กิกรรมนี้เด็ฏๆได้ทักษะ - การสังเกต  - การจำแนก  - ทักษะการสื่อความหมาย 


กิจกรรมที่อาจารย์ให้ทำในวันนี้

ทำ Cooking ทาโกยากิ

วัสดุอุปกรณ์และเครื่องปรุง



วิธีทำ

1. ให้เด็กหั่นแครอท2แท่ง ปูอัด3เส้น ตั้นหอม1เส้น

2.ให้เด็กๆเจียวไข่แล้วใส่ลงถ้สยตัวเองคนละ1ทัพพี

3.ให้เด็กนำถ้สยไข่ไปใส่เครื่องปรุงฐานที่3ดังนี้ แครอท1ช้อนชา ปูอัดครึ่งช้อนชา ต้นหอม1ช้อนชา ซอล
ปรุงรสครึ่งช้อนชา(แล้วแต่ความชอบ) ข้าวเปล่า1ช้อนโต๊ะแล้วคนให้เขากันจากนั้นไปข้อที่4


4. ตั้งกระทะให้ร้อนนำเนยรสยืดลงใส่เล็กน้อยเพื่อไม่ให้ติดกระทะและวไปลงกระทาทาโกยากิ





การประยุกต์ใช้
1.นำไปประยุกต์ในการเขียนแผนการสอน
2.นำวิธีการสอนไปสอนเด็กในอนาคต
3.การทำอาหาร
4.การนำไปจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ให้กับเด็กปฐมวัย

การประเมิน

ตนเอง :  ตั้งใจฟังเพื่อนนำเสนอและเข้าร่วมกิจกรรมอย่างเต็มที่ แต่งกายเรียบร้อย

เพื่อน :  ตั้งใจฟังเพื่อนๆนำเสนอดี มีการออกไปร่วมกิจกรรม มีคุยกันเสียงดังบ้างบางครั้ง

อาจารย์ : สรุปท้ายกิจกรรมได้เข้าใจ มีการติชมดีและให้เด็กได้ลงมือปฎิบัติจริง



วันอังคารที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 13

                                 วิชา  การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย



อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ

วันที่ 11 พฤศจิกายน  2557

หน่วยผลไม้




หน่วยหงษ์หยก 

(ยังไม่พร้อมในการนำเสนอ)


หน่วยแตงโม



หน่วยข้าวโพด



หน่วยกล้วย



หน่วยช้าง




หน่วยผีเสื้อ



หน่วยสับปะรด
(ยังไม่พร้อมในการนำเสนอ)


หน่วยส้ม
(ยังไม่พร้อมในการนำเสนอ)



การประยุกต์ใช้

1. สามารถนำกิจกรรมที่เพื่อนนำเสนอไปใช้กับเด็กได้
2. นำวิธีการขียนไปใช้ให้สอดคล้องกับรายวิชาอื่นได้
3. นำไปจัดกิจกรรมให้แก่เด็กได้

การประเมิน

ตนเอง :  ตั้งใจฟังเพื่อนนำเสนอ แต่งกายเรียบร้อย

เพื่อน :  ตั้งใจฟังเพื่อนๆนำเสนอดี มีการออกไปร่วมกิจกรรม มีความกล้าแสดงออก

อาจารย์ : สรุปท้ายกิจกรรมได้เข้าใจ มีการติชมดี

วันจันทร์ที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 12

                          

                                 วิชา  การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย



อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ

วันที่ 4 พฤศจิกายน  2557


SAMPLE LESSON PLANS

ELEMENTS OF LESSON PLANS






MY LESSON PLANS






การประยุกต์ใช้

1. เอาไปเป็นตัวอย่างในการเขียนแผนให้กับเด็กได้
2. นำกรอบพัฒนาไปเป็นแบบอย่างในการสอนให้แก่เด็กได้

การประเมิน

ตนเอง :  ตั้งใจฟังอาจารย์ มีบางครั้งที่คุยบ้าง แต่งกายเรียบร้อย

เพื่อน :  ตั้งใจฟังอาจารย์ดี มีการแสดงความคิดเห็นร่วมกันดี

อาจารย์ : อาจารย์สอนเข้าใจ มีการยกตัวอย่างชัดเจน อธิบายละเอียดดี

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 11

                                 วิชา  การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย



อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ

วันที่ 28 ตุลาคม  2557

อาจารย์ได้ทดลองกิจกรรมต่างๆให้ดู

1. ดอกไม้บาน


จากกิจกรรมนี้ ทำไมดอกไม้ถึงบาน เพราะ น้ำเป็นมวลเข้าไปข้างในจึงทำให้กระดาาบานออก

2. ขวดน้ำต่างระดับ


จากกิจกรรมนี้ ที่น้ำข้างล่างไหลแรงกว่า เพราะ อากาศที่ดันน้ำออกมา 

3.  น้ำไหลจากสายยาง


จากกิจกรรมนี้   ถ้ายิ่งต่ำแรงดันน้ำก็ยิ่งเยอะ เพราะ แรงดันน้ำจากดินน้ำมันจึงทำให้ยิ่งอยู่ต่ำน้ำยิ่งพุงสูง

4.  ดินน้ำมันลอยน้ำ


จากกิจกรรมนี้  ทำไมดินน้ำมันถึงลอย เพราะ ดินน้ำมันมีความหนาแน่นน้อยกว่าน้ำแต่ต้องทำให้ข้างล่างมันโปร่งเปรียบเสมือนเรือ

5. ไฟลุก


จากกิจกรรมนี้  ที่ไฟลุก เพราะ มีออกซิเจนแต่พอเอาแก้วมาคอบทำไมถึงดับ ? ที่ไฟดับเป็นเพราะว่า ไม่มีอากาสเข้าไปข้างในไฟจึงดับ

การประยุกต์ใช้

1. สามารถไปใช้เป็นการเรียนการสอนในวิชาวิทยาศาสตร์ได้
2. เด็กได้รู้จักสังเกตและได้เห็นความแตกต่างในเรื่องของรูปทรงและความเป็นเหตุเป็นผล

การประเมิน

ตนเอง :  ตั้งใจฟังอาจารย์ดี แต่งกายเรียบร้อย

เพื่อน :  ตั้งใจฟังอาจารย์ดี ออกไปร่วมกิจกรรมได้ดี มีความกล้าแสดงออก

อาจารย์ : สรุปท้ายกิจกรรมได้เข้าใจ ทำให้รู้เหตุและผลมากขึ้น แต่งกายสุภาพ

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 10

                                 วิชา  การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย



อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ

วันที่ 21 ตุลาคม  2557


อาจารย์ให้นำเสนอสิ่งประดิษฐ์ของเล่นจากวิทยาศาสตร์อีกครั้ง ซึ่งทำมาจากวัสดุเหลือใช้โดยอธิบาย วิธีการเล่น  วิธีการทำและนำไปใช้กับเด็กในเรื่องอะไร  เด็กได้อะไรจากกิจกรรมนี้  
สิ่งประดิษฐ์ของดิฉัน คือ กังหันจากไม้ไอศกรีม




กิจกรรมที่อาจารย์ให้ทำ คือ ของเล่นไต่เชือก



วิธีการทำ

1. ตัดเชือกโดยวัดความยาวจากคอลงมา กะเอาพอประมาณ

2. นำแกนทิชชูมาตัดครึ่งแล้วเจาะรูประมาณกลางๆทั้งสองฝั่ง

3. วาดรูปอะไรก็ได้ตามใจชอบแล้วแปะลงไปกับแกนทิชชู

4. นำเชือกมาร้อยเข้ากับรูทั้งสองข้าง

5. มัดเป็นปมให้แน่นๆ 


วิธีการเล่น

 ดึงเชือกสลับกันขึ้นลง แค่นี้ตุ๊กตาของเราก็ต่ายขึ้นต่ายลงแล้ว