วันจันทร์ที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2557

สิ่งประดิษฐ์ของเล่นวิทยาศาตร์

กังหันจากไม้ไอศกรีม



วัสดุอุปกรณ์

 1. ไม้ไอศกรีม

 2. ตะเกียบ

 3.หนังยาง

วิธีการทำ

1.  นำไม้ไอศกรีมมามัดติดกันให้เป็นรูปสามเหลียม



2.  นำหนังยางมาร้อยต่อกันประมาน 3-4 เส้น


3.  เอาหนังยางที่ร้อยเสร็จมาผูกติดกับตะเกียบให้แน่นๆ


วิธีการเล่น

1. นำไม้ไอศกรีมที่เป็นรูปสามเหลี่ยมมาคล้องกับหนังยางโดยเลือกมุมใดมุมหนึ่ง

2.  จับตะเกียบไว้แน่นๆตั้งฐานดีๆแล้วดึงไม้ไอศกรีมที่เป็นรูปสามเหลี่ยมให้ตึงๆเตรียมพร้อมที่จะยิง

3. จากนั้นก็ปล่อยไม้ไอศกรีมไป พอปล่อยไปไม้ไอศกรีมก็จะหมุนคล้ายกับกังหัน

การประยุกต์ใช้

1. สามารถนำไปใช้เป็นของเล่นให้กับเด็กได้

2. สื่อนี้สามารถนำไปใช้สอนเด็กในวิชาวิทยาศาสตร์ได้

3. เด็กได้เรียนรู้ในเรื่องของการยืดหยุน






บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 9

                                 วิชา  การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย



อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ

วันที่ 14 ตุลาคม  2557


อาจารย์ให้นำเสนอสิ่งประดิษฐ์ของเล่นจากวิทยาศาสตร์ ซึ่งทำมาจากวัสดุเหลือใช้โดยอธิบาย วิธีการเล่น  วิธีการทำและนำไปใช้กับเด็กในเรื่องอะไร  เด็กได้อะไรจากกิจกรรมนี้  


การประยุกต์ใช้

สามารถนำไปใช้เป็นสื่อการเรียนการสอนให้แก่เด็กได้


การประเมิน

ตนเอง :  ตั้งใจฟังเพื่อนรายงานดี มีคุยบ้างเป็นบางครั้ง แต่งกายเรียบร้อย

เพื่อน : มีพูดคุยเสียงดังเป็นบางครั้ง แต่งกายเรียบร้อย

อาจารย์ : สรุปได้เข้าใจง่ายและให้นักศึกษาไปค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมได้ดี

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 8

วิชา  การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย



อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ

วันที่ 7 ตุลาคม 2557


สอบกลางภาค

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 7



วิชา  การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย


อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ

วันที่ 30กันยายน  2557


เข้าร่วมกิจกรรมจิตอาสาสัมมานาตามรอยแนวคิดเศษฐกิจพอเพียง
โดย ปอ ทฤษฎี สหวงษ์

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 6

วิชา  การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย



อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ

วันที่ 23 กันยายน  2557




       กิจกรรมในชั้นเรียน


พับลูกยางจากกระดาษ


นำเสนอหน่วยงานการจัดประสบการณ์

กลุ่มดิฉันทำ เรื่อง ผีเสื้อ




การนำไปประยุกต์ใช้  :    1.  เด็กสามารถเรียนรู้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
                                                           2. สามารถนำมาปรับใช้ให้เข้ากับรายวิชาอื่นๆได้

การประเมิน
*ตนเอง  :   ตั้งใจฟังอาจารย์ดี  แต่งกายเรียบร้อย  
*เพื่อน   :   มีพูดคุยกันบ้าง แต่งกายเรียบร้อย
*อาจารย์  :  อาจารย์ทวนงานได้ละเอียด สรุปเนื้อหาได้เข้าใจ แต่งกายสุภาพดีมาก